เป้าหมาย : นักเรียนสามารถอ่านและวิเคราะห์เรื่องราวทั้งจากบทร้อยแก้วและร้อยกรองได้ เข้าใจความหมาย จับใจความสำคัญและถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล มีนิสัยรักการอ่าน ตระหนักและเห็นความสำคัญของเรื่องที่อ่าน สามารถบอกข้อคิดของเรื่องและนำมาใช้ในชีวิตได้ มีมารยาทในการอ่าน การฟัง การพูด การเขียนที่เหมาะสม สามารถสรุปองค์ความรู้และเชื่อมโยงหลักภาษาเพื่อนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างสร้างสรรค์และเหมาะสม

วันจันทร์ที่ 20 กรกฎาคม พ.ศ. 2558

Main


Quarter 1
Quarter 2
Quarter 3
Quarter 4
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
สาระ/หลักภาษา
. พยัญชนะ  สระ  วรรณยุกต์
. อ่านแจกลูกคำและสะกดคำ
. เขียนเรื่องจากภาพ
. เลขไทย  เดือนไทย
. มาตราตัวสะกดตรงมาตราและไม่ตรงมาตรา
. การประสมคำ
. การแต่งประโยค
. ปริศนาคำทาย บทร้องเล่น
. คำควบกล้ำ ร ล ว
๑๐. คำสันธาน
. มาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
. คำกริยา
. คำวิเศษณ์
. อักษรนำ
. การแต่งประโยค
. เขียนเรื่องตามจินตนาการ
๗. คำที่มี รร
๘. คำที่มีการันต์
.  คำพ้องรูป พ้องเสียง
๑๐. เขียนบันทึกประจำวัน
๑๑. การแสดงละคร  บทบาทสมมุติ

. การแต่งประโยค
. คำราชศัพท์
. คำบุพบท
. คำสันธาน
. บทอาขยาน  อ่านทำนองเสนาะ
. ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาไทยถิ่น
. สำนวน  สุภาษิต
. การแสดงละคร  บทบาทสมมุติ
. แต่งคำคล้องจอง  คำประพันธ์
. มาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
. เขียนตามคำบอก
. การแต่งประโยค
. คำเชื่อม
. คำควบกล้ำ ร ล ว
. บทร้องเล่น
. คำนาม
. คำสรรพนาม
. คำที่มีตัวการันต์
วรรณกรรม/นิทาน
- นิทานลูกสัตว์ต่างๆ
วรรณกรรม
- สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
- ลาแสนรู้
- ฝันติดปีกของผลิใบ
วรรณกรรม
นิทานพื้นบ้าน
- พ่อเป็นปลา แม่เป็นน้ำ
- จอเกอะโดะคนขี้เกียจ

วรรณกรรม/นิทาน
- ภูเขากับต้นไม้
- พระราชาบนดาวสีเขียว
- ปลาดาวบนชายหาด
- เด็กชายกับดวงดาว
- พระจันทร์ขี้เหงา
เวลาเรียน ๑๑ สัปดาห์ (๕๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๙ สัปดาห์ (๔๕ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)
เวลาเรียน ๑๐ สัปดาห์ (๕๐ ชั่วโมง)



Week

Input
Process
Output
Outcome











วรรณกรรมเรื่อง
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน โผบินจากกรง


หลักภาษา
- คำพ้องรูปพ้องเสียง
- การเขียนคำอ่าน
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์


เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ “เป็นเป็ดป่า นักเรียนจะทำอย่างไร”
-เขียนคำศัพท์ตามคำบอก (ให้มีคำพ้องรูปพ้องเสียงด้วย)
--ครูเขียนคำศัพท์บนกระดาน (บิน บิล บิณฑ์ ) นักเรียนเห็นอะไร มีคำใดอีกบ้างที่มีลักษณะที่คล้ายหรือเหมือนกับคำบนกระดาน นักเรียนช่วยกันเสนอแนะ เขียนคำศัพท์วาดภาพประกอบ
-นักเรียนเลือกคำพ้องรูป พ้องเสียง ๑๐ คำเขียนแต่งการ์ตูนช่อง๓ช่องจบ  (เลือกตามความสนใจ)
 - นักเรียนศึกษาคำพ้องรูปพ้องเสียงเพิ่มเติม นำคำพ้องรูปพ้องเสียงมาใช้ในการเขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์พร้อมวาดภาพประกอบ

ภาระงาน:
- อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- ศึกษาค้นคว้าคำพ้องรูปพ้องเสียง จากเรื่องที่อ่านและแหล่งเรียนรู้อื่น วาดภาพประกอบคำศัพท์คำพ้องรูปพ้องเสียง
- ศึกษาคำพ้องรูปพ้องเสียงเพิ่มเติม นำคำพ้องรูปพ้องเสียงมาใช้ในการเขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์พร้อมวาดภาพประกอบ

ชิ้นงาน:
- แผนภาพโครงเรื่อง
- ประโยคสร้างสรรค์จากคำพ้องรูปพ้องเสียง
- เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์พร้อมวาดภาพประกอบ


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำพ้องรูป พ้องเสียงมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว


หน่วยการเรียนรู้
หนังสือ/ตอน
สาระเนื้อหา (แก่นเรื่อง)
หลักภาษา

เป้าหมายหลักภาษา








Quarter 2
วรรณกรรม

วรรณกรรม
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง
***ความเข้มแข็งภายใน มิตรภาพ การพึ่งพาอาศัยกัน
มิตรภาพและความเห็นอกเห็นใจต่อกันของคนๆหนึ่งเป็นดั่งน้ำหล่อเลี้ยงและกำลังใจให้กับผู้ที่รู้สึกทุกข์ใจ เสียใจ ต่อเหตุการณ์ใดเหตุการณ์หนึ่ง ทำให้มีกำลังใจที่จะเผชิญกับปัญหาอีกครั้งหนึ่ง
- มาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำในมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา
โรงนา เป็นสังคมเล็กๆ เป็นโลกจำลองสำหรับการเรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันที่เต็มไปด้วยความหลากหลายและแตกต่าง แต่ในความแตกต่างหลากหลายนั้นมีความงดงาม มีความรัก ความเอื้ออาทรและการอยู่ร่วมกันอย่างเคารพ และศานติ
-คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม  คำลักษณะนาม
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำชนิดต่างๆ(คำกริยา สรรพนาม ลักษณะนาม) นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟัง เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง

ในสังคมและการอยู่ร่วมกันที่มีความหลากหลายบนความต่างนั้นทุกคนมีหน้าที่และวิถีการดำเนินชีวิตและการดำรงอยู่แตกต่างกัน เราควรค้นหาตนเองให้พบและเรียนรู้พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
- คำวิเศษณ์/คำตรงข้าม
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่าน เข้าใจสามารถนำคำวิเศษณ์ คำตรงข้ามมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ลาแสนรู้ ตอน ตลาด
***สร้างทางเลือกด้วยตนเอง
ปัญหา และอุปสรรคเป็นบทเรียนให้เราได้เข้มแข็ง เรียนรู้ที่จะแก้ปัญหาและสร้างทางเลือกที่เหมาะสมให้กับตนเองเพื่อแก้ปัญหานั้น
- อักษรนำ
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มีอักษรนำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
- ลาแสนรู้ ตอน การตามล่า
- นิทาน คำ รร หัน
การรับฟังและคิดอย่างมีสติจะทำให้เราสามารถแก้ปัญหาและไม่ทำให้ตนเองต้องเผชิญกับอันตราย “ตั้งสติ และคิดอย่างมีเหตุผล รอบคอบ”

- คำที่มี รร
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มี ร หัน มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

-ลาแสนรู้ ตอน นายใหม่
-การ์ตูน (คลิป) “การันต์”
ความทุกข์หรือความสุขผ่านมาแล้วก็ผ่านไป ชีวิตของเราล้วนมีทั้งทุกข์และสุขคละเคล้ากัน เราเลือกได้ว่าจะอยู่อย่างไร
- คำที่มีการันต์
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำการันต์ มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน อย่าหวังว่าฉันจะไข่อีกแม่แต่ฟองเดียว
***เรียนรู้ที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่าง
เราดำรงอยู่บนความหลากหลาย ทุกสรรพสิ่งล้วนทำหน้าที่ของตนเอง เราควรดำรงชีวิตอย่างมีคุณค่า มีเจตจำนงและเป้าหมายที่ดีงามทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
- การแสดงละคร  บทบาทสมมุติ
- เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาถ่ายทดผ่านละครบทบาทสมมุติเพื่อใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน โผบินจากกรง
ชีวิตของเราไม่ได้ราบรื่นหรือมีความสุขตลอดเวลา แต่ความทุกข์ความยาก หรือปัญหาก็เป็นโอกาสให้เราได้พบกัลยาณมิตร มิตรภาพที่ได้จากเพื่อน เพื่อนที่ไม่ได้แยกเธอ ฉัน แต่เป็นเราและมอบความปรารถนาดีต่อกัน
- คำพ้องรูป พ้องเสียง
- การเขียนแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำพ้องรูป พ้องเสียงมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน สู่โรงนา
ในสังคมมีความหลากหลายทุกคนต่างพยายามทำหน้าที่ของตนเพื่อเป็นที่ยอมรับ เป็นหน้าที่ เป็นสิ่งที่ดีจึงทำ ฯลฯทุกคนล้วนปรับตัวและดำรงอยู่บนความแตกต่างหลากหลายนั้น
เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
- นิทาน(จินตนาการ)
- บรรยาย
- เล่าเรื่อง
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาใช้ในการแต่งเรื่องสร้างสรรค์ นำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ตารางวิเคราะห์หน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานและตัวชี้วัดสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ Quarter 2 ภาคเรียนที่ ๑
หน่วยการเรียน “วรรณกรรม” (สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ลาแสนรู้ ฝันติดปีกของผลิใบ)
สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้



สัปดาห์ที่ ๑
๑๐ - ๑๔
.. ๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
ตอน ป้าวัวกับหูกาง

สาระ/หลักภาษาไทย
- ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
- แต่งประโยค
- แต่งเรื่องสร้างสรรค์
./อ่านออกเสียงนิทานหรือ ข้อความง่ายๆ ได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือ
ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
./๒ เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและเขียนพยัญชนะ  สระ และวรรณยุกต์ ตัวสะกดไมตรงมาตราได้
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำตัวสะกดไม่ตรงมาตรา

./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำในมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้




สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ๒

๑๗ ๒๑
.. ๒๕๕๘
หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน โรงนา

สาระ/หลักภาษาไทย
-คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม  คำลักษณะนาม
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./อ่านออกเสียงคำ ข้อความง่ายๆ
ได้ถูกต้อง
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากวรรณกรรมที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือตัวบรรจงเต็มบรรทัด
./๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดู
./๓ บอกสาระ สำคัญของเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและเขียนคำนาม คำกริยา คำสรรพนาม  คำลักษณะนามได้
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำนาม คำกริยา คำสรรพนาม  คำลักษณะนาม
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ
การสื่อสาร


./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำชนิดต่างๆ(คำกริยา สรรพนาม ลักษณะนาม) นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟัง เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้








สัปดาห์ที่ ๓

๒๔ ๒๘
.. ๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง

สาระ/หลักภาษาไทย
- คำวิเศษณ์/คำตรงข้าม
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./อ่านออกเสียงคำ ข้อความง่ายๆ
ได้ถูกต้อง
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากวรรณกรรมที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือ
ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
./๒ เขียนคาดเดาเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับนิทานได้
./๓ เขียนสรุปใจความสำคัญ เขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์ได้
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสาร
ได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด


./๑  บอกและเขียนคำวิเศษณ์/คำตรงข้าม ได้
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำวิเศษณ์/คำตรงข้าม
./๓  เรียบเรียงคำ แจกลูกคำ ได้ถูกต้อง
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่าน เข้าใจสามารถนำคำวิเศษณ์ คำตรงข้ามมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้





สัปดาห์ที่ ๔


๓๑ ส..
-
๔ ก.ย.
๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
ลาแสนรู้ ตอน ตลาด

สาระ/หลักภาษาไทย
- อักษรนำ
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./อ่านออกเสียงคำ  วลี ประโยค และข้อความ ง่ายๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธี
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อ่าน
./๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอและนำเสนอเรื่องที่อ่าน
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ เขียนคัดลายมือเลขไทย และเดือนไทยตัวบรรจง
เต็มบรรทัดได้
./๒ เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์ เรื่องตามจินตนาการสร้างสรรค์
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๓ บอกสาระ สำคัญของเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด


./๑  บอกและเขียนคำที่มีอักษรนำ พร้อมทั้งเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์
ได้
./๒  เขียนสะกดคำอักษรนำ  เขียนแจกลูกคำได้
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ
การสื่อสาร
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน
./๓ ท่องจำเดือนต่างๆ ของไทย
ทั้ง ๑๒ เดือน ได้
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มีอักษรนำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้


สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้


สัปดาห์ที่ ๕




๗ - ๑๑ ก.ย.
๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
- ลาแสนรู้ ตอน การตามล่า
- นิทาน คำ  ร หัน

สาระ/หลักภาษาไทย
- คำที่มี ร หัน
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./อ่านออกเสียงคำ  วลี ประโยค และข้อความ ง่ายๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธี
./๒ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน
./๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ เขียนประโยคสั้นโดยใช้คำเชื่อมได้
./๒ เขียนเรื่องสรุปเรื่องที่อ่าน
./๓ เขียนแต่งเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๓ พูดเล่าเรื่องราวให้คนอื่นฟังได้
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและเขียนคำ ร หัน พร้อมทั้งเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์ได้
./๒  เขียนสะกดคำ คำ ร หัน  เขียนแจกลูกคำได้
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ
การสื่อสาร
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำ วัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มี ร หัน มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้




สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้





สัปดาห์ที่ ๖


๑๔ - ๑๘ ก.ย.
๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
-ลาแสนรู้ ตอน นายใหม่
-การ์ตูน (คลิป) “การันต์”

สาระ/หลักภาษาไทย
- คำที่มีการันต์
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ
./อ่านออกเสียงคำ  วลี ประโยค และข้อความ ง่ายๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธี
./๒ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน
./๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๑ คัดลายมือ
ตัวบรรจงเต็มบรรทัด
./๒ แต่งประโยคง่ายๆ ได้
./๒ เขียนคำการันต์แล้วเรียงร้อยให้เป็นเรื่องราวได้อย่างสร้างสรรค์
./๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการโดยใช้คำการันต์
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๓ บอกสาระ สำคัญของเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและเขียนคำ การันต์ พร้อมทั้งเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องสร้างสรรค์ได้
./๒  เขียนสะกดคำ คำ การันต์  เขียนแจกลูกคำได้
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ
การสื่อสาร
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำการันต์ มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้




สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้


สัปดาห์ที่ ๗


๒๑ - ๒๕ ก.ย.
๒๕๕๘


หน่วยการเรียนรู้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน อย่าหวังว่าฉันจะไข่อีกแม่แต่ฟองเดียว


สาระ/หลักภาษาไทย
- การแสดงละคร  บทบาทสมมุติ
- เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
./อ่านออกเสียงคำควบกล้ำ ได้ถูกต้อง
./๒ อธิบายความหมายของคำ และข้อความที่อ่าน
./๔ ระบุใจความสำคัญและรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือ
ตามความสนใจ อย่างสม่ำเสมอ
./๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ
./๘  มีมารยาทในการอ่าน 
./๑ เขียนคำที่มีการันต์ได้
./๒ เขียนประโยค ข้อความสั้นๆ เป็นบทละครได้
./๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการโดยใช้ถ้อยคำที่เหมาะสม สร้างสรรค์
./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๓ บอกสาระสำคัญของเรื่องที่ฟังและดู
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสาร
ได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและเขียนคำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่านได้
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำได้อย่างเหมาะสมสร้างสรรค์
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร
./๔ บอกลักษณะคำที่มีในในการเขียนบทละครได้
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาถ่ายทดผ่านละครบทบาทสมมุติเพื่อใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้


สัปดาห์ที่ ๘



๒๘ ก.ย.
-
๓ ต.ค.
๒๕๕๘


หน่วยการเรียนรู้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน โผบินจากกรง

สาระ/หลักภาษาไทย
- คำพ้องรูป พ้องเสียง
- การเขียนแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- เขียนเรื่องตามจินตนาการ

./อ่านออกเสียงคำ  วลี ประโยค และข้อความ ง่ายๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธี
./๒ อธิบายความหมายของคำเชื่อม และข้อความที่อ่าน
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่องที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจอย่างสม่ำเสมอ
./๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๒ เขียนเรื่องสั้นๆ เกี่ยวกับประสบการณ์
./๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการจากคำพ้องรูป พ้องเสียง
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนและปฏิบัติตาม
./๒ เล่าเรื่องที่ฟังและดูทั้งที่เป็นความรู้และความบันเทิง
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด
./๑  บอกและแต่งประโยคโดยใช้คำเชื่อม คำพ้องรูปพ้องเสียงที่หลากหลาย
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของพ้องรูป พ้องเสียง
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของ
การสื่อสาร
./๔ บอกลักษณะคำพ้องรูป พ้องเสียง
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำพ้องรูป พ้องเสียงมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้





สัปดาห์
//
หน่วยการเรียนย่อย
และสาระการเรียนรู้
การอ่าน
ท ๑.
การเขียน
ท ๒.
การฟัง ดู และพูด
ท ๓.
หลักการใช้ภาษา
ท ๔.
วรรณคดีและวรรณกรรม
ท ๕.
เป้าหมายการเรียนรู้


สัปดาห์ที่ ๙


๖-๑๐ ต.ค.
๒๕๕๘

หน่วยการเรียนรู้
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน สู่โรงนา

สาระ/หลักภาษาไทย
เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์
- นิทาน(จินตนาการ)
- บรรยาย
- เล่าเรื่อง
./อ่านออกเสียงคำ  วลี ประโยค และข้อความ ง่ายๆ ได้ถูกต้องตามอักขระวิธี
./๒ อธิบายความหมายของคำสรรพนาม และข้อความที่อ่าน
./๓ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับนิทานเรื่องลูกเป็ดกับพรวิเศษเจ็ดประการที่อ่าน
./๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุการณ์จากเรื่อง
ที่อ่าน
./๖ อ่านหนังสือตามความสนใจ
อย่างสม่ำเสมอ
./๗ อ่านข้อเขียนเชิงอธิบายและปฏิบัติตามคำสั่งหรือข้อแนะนำ
./๘  มีมารยาท
ในการอ่าน 
./๒ เขียนคำชนิดต่างๆและเรียงร้อยให้เป็นประโยคหรือเรื่องราวได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์
./๓ เขียนเรื่องสั้นๆ ตามจินตนาการ
                ./๔ มีมารยาท
ในการเขียน
./๑ ฟังคำแนะนำ คำสั่งที่ซับซ้อนเกี่ยวกับการทำงานได้และการเรียนรู้
./๔ ตั้งคำถามและตอบคำถามเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและดู
./๕ พูดแสดงความคิดเห็นและความรู้สึกจากเรื่องที่ฟังและดู
./๖ พูดสื่อสารได้ชัดเจน  ตรงตามวัตถุประสงค์
./๗ มีมารยาท
ในการฟัง การดู และการพูด




./๑  บอกและเขียนคำศัพท์ใหม่ในเรื่องที่อ่านได้
./๒  เขียนสะกดคำและบอกความหมายของคำได้อย่างเหมาะสมสร้างสรรค์
./๓  เรียบเรียงคำเป็นประโยคได้ตรงตามเจตนาของการสื่อสาร
./๔ บอกลักษณะคำที่มีในในการเขียนบทละครได้
./๕  เลือกใช้ภาษาไทยมาตรฐานและภาษาถิ่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ 
./๑ ระบุข้อคิดที่ได้จากการอ่าน  หรือ
การฟังวรรณกรรมสำหรับเด็ก  เพื่อนำไป ใช้ในชีวิตประจำวัน

นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาใช้ในการแต่งเรื่องสร้างสรรค์ นำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้
ปฏิทินการเรียนรู้ภาษาไทย  ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๒
Quarter 2 ภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๕๘ โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
Week

Input
Process
Output
Outcome







วรรณกรรมเรื่อง
สีเทาตัวจิ๋ว ตอน ป้าวัวกับหูกาง

หลักภาษา
- ตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์

เครื่องมือคิด
-Blackboard Share
-Round Robin
-Brain Storm
-Wall thinking
-Show & Share
-อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
-แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
-วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่วันแม่ “ถ้าเกิดเหตุการณ์นี้กับเราบ้าง นักเรียนคิดว่าแม่ของเราจะทำอย่างไร และแม่ของสีเทาจะทำอย่างไร”
-ถอดหลักภาษาตัวสะกดไม่ตรงมาตราจากเรื่องที่อ่าน พร้อมวาดภาพสื่อความหมายของคำ
-ศึกษาเกี่ยวกับตัวสะกดไม่ตรงมาตราเพิ่มเติม จากหนังสือนิทาน สอบถาม ค้นคว้าจากอินเทอร์เน็ต หรือสื่ออื่นๆ
-แต่งประโยคจากตัวสะกดไม่ตรงมาตราพร้อมวาดภาพประกอบ
-นิทานตัวสะกดไม่ตรงมาตรา(เลือกตามความสนใจ)

ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าคำที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา

ชิ้นงาน:
- วาดภาพประกอบเรื่องย่อใหม่
- ประโยคจากคำศัพท์ที่มีตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
- นิทานตัวสะกดไม่ตรงมาตรา
ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำในมาตราตัวสะกดไม่ตรงมาตรา นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว

Week

Input
Process
Output
Outcome












วรรณกรรมเรื่อง
สีเทาตัวจิ๋ว ตอน โรงนา


หลักภาษา
- ชนิดของคำ (คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม คำลักษณะนาม )


เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้
-นำบัตรคำจากชนิดของคำต่างๆจากเรื่องที่อ่านมาจัดหมวดหมู่ (คำนาม คำกริยา คำสรรพนาม คำลักษณะนาม )
- เลือกคำศัพท์จากบัตรคำแต่ชนิดละแต่งประโยคสร้างสรรค์พร้อมวาดภาพประกอบ ๕ ประโยค (ขีดเส้นใต้คำศัพท์แต่ละชนิดด้วยสีที่แตกต่างกัน)
-จับฉลากแบ่งกลุ่มเขียนสรุปคำศัพท์แต่ละชนิดผ่านผังความคิด(Web)
- เลือกสรุปคำชนิดต่างๆตามความสนใจ (โมบาย นิทาน แผนภาพความคิด บัตรคำ)

ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าคำชนิดต่างๆจากเรื่องที่อ่าน
-วิเคราะห์จัดหมวดหมู่คำศัพท์ คำชนิดต่างๆ
- สรุปการเรียนรู้ (เลือกตามความสนใจ)

ชิ้นงาน:
- ประโยคสร้างสรรค์
- ผังความคิด (Web)
- แผนภาพโครงเรื่อง


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่านและเขียนแต่งประโยค แต่งเรื่องได้อย่างสร้างสรรค์จากคำชนิดต่างๆ(คำกริยา สรรพนาม ลักษณะนาม) นำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟัง เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว

Week

Input
Process
Output
Outcome







วรรณกรรมเรื่อง
สีเทาตัวจิ๋ว ตอน บึงใหญ่กลางทุ่ง


หลักภาษา
- คำ การันต์
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์

เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ นอกเหนือจากตัวละครในเรื่อง “บึงใหญ่น่าจะสิ่งมีชีวิตใดอีกบ้าง”
-นักเรียนดูคลิปวีดีโอ “ตัวการันต์” ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “ถ้านักเรียนเป็นตัวการันต์นักเรียนจะทำอย่างไร”
-นักเรียนค้นคว้าคำการันต์ ในเรื่องที่อ่าน และแหล่งข้อมูลอื่นๆเพิ่มเติม เขียนสรุปลงในสมุดบันทึกพร้อมวาดภาพประกอบ
-นักเรียนเลือกคำการันต์ ๑๐ คำเขียนแต่งประโยคสร้างสรรค์ (ตามความสนใจ)แต่งประโยคสร้างสรรค์โดยในประโยคแต่ละประโยคให้มีคำเชื่อมประโยคด้วย (เพราะ แต่  และ หรือ กับ)
- นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละเท่าๆกัน ทำบัตรคำการันต์พร้อมภาพประกอบบัตรคำนั้น


ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าคำการันต์ จากเรื่องที่อ่านและแหล่งเรียนรู้อื่น วาดภาพประกอบคำศัพท์
- ทำบัตรคำการันต์
-นำเสนอผลงาน สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับผลงานบัตรคำการันต์

ชิ้นงาน:
- แผนภาพโครงเรื่อง
- ประโยคสร้างสรรค์
- บัตรคำการันต์


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำการันต์ มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว

Week

Input
Process
Output
Outcome












วรรณกรรมเรื่อง
ลาแสนรู้ ตอน ตลาด


หลักภาษา
- อักษรนำ
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์


เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ “เมื่อนักเรียนไปตลาด นักเรียนจะพบสิ่งใดบ้าง”
-ครูติดบัตรคำที่มีอักษรนำติดบนกระดาน แล้วตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนพบคำใดในเรื่องอีกบ้างที่มีลักษณะเหมือนกับคำบนกระดาน”
-นักเรียนค้นคว้าคำอักษรนำในเรื่องที่อ่านเพิ่มเติม เขียนสรุปลงในสมุดบันทึกพร้อมวาดภาพประกอบ
-นักเรียนเลือกคำที่มีอักษรนำ ๕คำ (ตามความสนใจ)แต่งประโยคสร้างสรรค์โดยในประโยคแต่ละประโยคให้มีคำเชื่อมประโยคด้วย (เพราะ แต่  และ หรือ กับ)
-สรุปการเรียนรู้ผ่านการแต่งการ์ตูนช่องคำที่มีอักษรนำ

ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าที่มีอักษรนำ จากเรื่องที่อ่าน วาดภาพประกอคำศัพท์
-นำเสนอผลงาน สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับผลงาน

ชิ้นงาน:
- แผนภาพโครงเรื่อง
- คำศัพท์คำที่มีอักษรนำ
-ประโยคสร้างสรรค์
-การ์ตูนช่อง


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มีอักษรนำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว

Week

Input
Process
Output
Outcome









วรรณกรรมเรื่อง
ลาแสนรู้ ตอน ตามล่า


หลักภาษา
- คำ ร หัน
- การแจกลูกคำ
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์


เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ “จะเป็นอย่างไรถ้านักเรียนได้อยู่ในเหตุการณ์นั้นด้วย”
-นักเรียนฟังนิทานคำ ร หัน ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนเห็นคำอะไรในเรื่องที่แตกต่างๆออกไป คำเหล่านั้นอ่าน และเขียนอย่างไร”
-นักเรียนค้นคว้าคำ ร หัน ในเรื่องที่อ่านเพิ่มเติม เขียนสรุปลงในสมุดบันทึกพร้อมวาดภาพประกอบ
-นักเรียนเลือกคำ ร หัน ๕คำ (ตามความสนใจ)แต่งประโยคสร้างสรรค์โดยในประโยคแต่ละประโยคให้มีคำเชื่อมประโยคด้วย (เพราะ แต่  และ หรือ กับ)
- นักเรียนอ่านชาร์ตคำ ร หัน แล้วสนทนาแลกเปลี่ยน
- เลือกคำ ร หัน ๑๐ คำเขียนแจกลูกคำ
- อ่านทวนชาร์ตและแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับคำ ร หันเพิ่มเติม เลือกคำศัพท์คำ ร หันแต่งนิทานสร้างสรรค์

ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าคำ ร หัน จากเรื่องที่อ่าน วาดภาพประกอบคำศัพท์
- อ่านและเขียนแจกลูกคำ คำ ร หัน
-นำเสนอผลงาน สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับผลงานนิทานคำ ร หัน

ชิ้นงาน:
- แผนภาพโครงเรื่อง
- คำศัพท์คำ ร หัน
-ประโยคสร้างสรรค์
-นิทานคำ ร หัน


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำคำที่มี ร หัน มาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว

Week

Input
Process
Output
Outcome









วรรณกรรมเรื่อง
ลาแสนรู้ ตอน เจ้านายใหม่


หลักภาษา
- คำวิเศษณ์
- คำตรงข้าม

เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้
- เล่นเกม ๒๐ คำถาม (ทายคำวิเศษณ์/คำตรงข้าม)
-ครูติดบัตรคำวิเศษณ์ คำตรงข้ามจากคำศัพท์ในเรื่องบนกระดาน ตั้งคำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนเห็นอะไรบ้าง จะนำคำเหล่านี้ไปใช้อย่างไร” “ถ้าคำเหล่านี้ไปอยู่กับคำอื่นๆจะเป็นอย่างไร”
-เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์จากคำวิเศษณ์ คำตรงข้าม
-นักเรียนเล่นเกมใบ้คำโดยใช้ท่าทาง (คำตรงข้าม)
-ศึกษาค้นคว้าคำศัพท์คำตรงข้าม คำวิเศษณ์จากเรื่องที่อ่านพร้อมทั้งเสนอแนะคำศัพท์ที่รู้จักเพิ่มเติม (ครูเขียนสิ่งที่นักเรียนนำเสนอบนกระดาน)
-จับฉลากแบ่งกลุ่มทำบัตรคำวิเศษณ์ คำตรงข้ามพร้อมวาดภาพประกอบคำศัพท์
-แต่งประโยคที่ทำหน้าที่ต่างๆโดยใช้คำวิเศษณ์และคำตรงข้าม
ภาระงาน:
-อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
-ศึกษาค้นคว้าคำวิเศษณ์ คำตรงข้าม จากเรื่องที่อ่าน
-ศึกษาค้นคว้าคำวิเศษณ์ คำตรงข้าม ทำบัตรคำ
- สรุปการเรียนรู้ (เลือกตามความสนใจ)
- แสดงท่าทางประกอบการใบ้คำวิเศษณ์ คำตรงข้าม
- ร้องเพลงสีเทาเจ้าตัวจิ๋ว
ชิ้นงาน:
- บัตรคำวิเศษณ์ คำตรงข้าม
- แผนภาพโครงเรื่อง
- บทบาทสมมุติใบ้คำ


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผลสามารถอ่าน เข้าใจสามารถนำคำวิเศษณ์ คำตรงข้ามมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างสร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว


Week

Input
Process
Output
Outcome











วรรณกรรมเรื่อง
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน อย่าหวังว่าฉันจะไข่อีกแม้แต่ฟองเดียว


หลักภาษา
-ละครบทบาทสมมุติ
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์


เครื่องมือคิด
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ “ถ้านักเรียนเป็นผลิใบ นักเรียนจะทำอย่างไร”
-เขียนคำศัพท์ตามคำบอก (คำศัพท์จากเรื่องที่อ่าน)
-นักเรียนเลือกคำศัพท์ที่เขียนตามคำบอก๕คำเขียนแต่งประโยคสร้างสรรค์โดยในประโยคแต่ละประโยคให้มีคำเชื่อมประโยคด้วย (เพราะ แต่  และ หรือ กับ)
- นักเรียนแบ่งกลุ่มกลุ่มละเท่าๆกัน แต่ละกลุ่มช่วยกันสรุปเรื่องที่อ่านเป็นละใบ้สามฉาก เพื่อนๆช่วยกันทายว่าเป็นฉากไหน
-นักเรียนแต่ละกลุ่มแต่งเรื่องสร้างสรรค์ โดยใช้ตัวละครจากเรื่อง ฝันติดปีกของผลิใบ
-นักเรียนแต่ละกลุ่มซ้อมละครสร้างสรรค์ที่แต่งขึ้นใหม่

ภาระงาน:
- อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- แต่งเรื่องสร้างสรรค์เพื่อใช้เป็นบทละครบทบาทสมมุติ
- นำเสนอละครบทบาทสมมุติ
ชิ้นงาน:
- แผนภาพโครงเรื่อง
- ประโยคสร้างสรรค์
- ละครบทบาทสมมุติ


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาถ่ายทดผ่านละครบทบาทสมมุติเพื่อใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์
คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว
Week

Input
Process
Output
Outcome











วรรณกรรมเรื่อง
ฝันติดปีกของผลิใบ ตอน สู่โรงนา


หลักภาษา
- การแต่งประโยค
- การแต่งเรื่องสร้างสรรค์


เครื่องมือคิด
- Card & Chart
- Round Robin
- Brain Storm
- Wall thinking
- Show & Share
-Blackboard Share
- อ่านวรรณกรรมโดยการอ่านออกเสียงพร้อมๆกัน
- แลกเปลี่ยนส่งที่อ่าน เชื่อมโยงสู่พฤติกรรมสมอง
- สรุปแผนภาพโครงเรื่อง
- วิเคราะห์เรื่องที่อ่าน เชื่อมโยงสู่ตนเองและการนำไปปรับใช้ “นักเรียนจะทำอย่างไรหากเราไม่เป็นที่ยอมรับจากผู้อื่น”
-นักเรียนช่วยกันสรุปเรื่องที่เรียนผ่านมาตลอดทั้งแปดสัปดาห์
-สนทนาแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับวรรณกรรมที่อ่านทั้งสามเรื่อง (สีเทาเจ้าตัวจิ๋ว ลาแสนรู้ และฝันติดปีกของผลิใบ)
-นักเรียนแบ่งกลุ่ม แต่ละกลุ่มเขียนสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้แล้วนำเสนอให้เพื่อนๆร่วมแรกเปลี่ยนเรียนรู้
-เขียนแต่งเรื่องสร้างสรรค์โดยใช้ตัวละครจากวรรณกรรมที่อ่าน
-นักเรียนวาดภาพเหตุการณ์ประทับใจของวรรณกรรมตอนที่อ่าน(สามช่อง)
-สรุปแผนภาพความคิดสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดQuarter ที่ผ่านมา
ภาระงาน:
- อ่านวิเคราะห์วรรณกรรม เชื่อมโยงสู่การนำไปปรับใช้กับตนเอง
- สนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรม
-สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้เป็นแผนภาพความคิด

ชิ้นงาน:
- เรื่องสร้างสรรค์
- ภาพวาดเหตุการณ์จากวรรณกรรม
- แผนภาพความคิด


ความรู้:
นักเรียนสามารถอ่านเรื่องราวร้อยแก้วได้ จับใจความสำคัญของเรื่อง และถ่ายทอดด้วยการเล่า การเขียน อธิบายให้คนอื่นฟังได้อย่างมีเหตุผล เข้าใจสามารถนำสิ่งที่ได้เรียนรู้จากวรรณกรรมมาใช้ในการแต่งเรื่องสร้างสรรค์ นำมาใช้ในการสื่อสารหรือนำมาประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม สร้างสรรค์ มีมารยาทในการอ่าน การเขียน การฟัง การดู และการพูด  สามารถอ่านและฟังนิทาน เรื่องราวแล้วจับใจความสำคัญได้  รวมทั้งสามารถนำความรู้ที่ได้จากวรรณกรรมที่อ่านไปปรับใช้ในชีวิตได้

ทักษะ:
-ทักษะชีวิต
-ทักการสื่อสาร
-ทักการจัดการข้อมูล
-ทักษะทำงานร่วมกับผู้อื่น
-ทักษะการคิดสร้างสรรค์

คุณลักษณะ:
-รู้เคารพ
-ความพยายาม
-การปรับตัว